วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้
๑. วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมพื้นบ้านภาคกลาง หมายถึง วรรณกรรมที่คัดลอกต้นฉบับมาจากภาคกลาง แต่ผู้คัดลอกนำมาปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงเนื้อเรื่องบางตอนตามความคิดเห็นของตน โดยยังคงฉันทลักษณ์เดียวกับต้นฉบับ แต่มีสำนวนภาษาท้องถิ่นปะปนอยู่บ้าง เช่น รามเกียรติ์ อุณรุท
๒. วรรณกรรมที่สร้างสรรค์ขึ้นเอง วรรณกรรมรูปแบบนี้ เป็นวรรณกรรมที่กวีพื้นบ้านภาคใต้นำโครงเรื่องมาจากภาคกลาง แต่ประพันธ์ขึ้นใหม่ด้วยฉันทลักษณ์ท้องถิ่น เช่น สังข์ทองคำกาพย์
๓. วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด วรรณกรรมรูปแบบนี้ได้แก่ ตำราต่างๆ หรือ แบบเรียนที่คัดลอกมาจากภาคกลาง เช่น จินดามณี เป็นต้น
บล็อกนี้ใช้สำหรับวิชาวรรณกรรมท้องถิ่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น